สวัดดีค่ะ วันนี้เรามีการพัฒนาภาษาของลูกรักมาฝากค่ะ
พัฒนาการทางภาษาของเด็ก
การเรียนรู้ภาษาของเด็กมิได้เริ่มจากการเรียนคำ ความหมายของคำ แต่เริ่มจากการมีความคิดทางภาษาอยู่ภายใน แล้วจึงพัฒนาเป็นการคิดคำอาศัยการลองผิดลองถูกจากการเล่นเสียง
ขั้นตอนของพัฒนาการทางการรับรู้ภาษาของเด็ก
1. สิ่งแรกที่เด็กเรียนรู้คือ ความรู้สึกของพ่อแม่และพี่เลี้ยง ซึ่งแสดงออกโดยการพูด
2. เมื่อเด็กพัฒนาขึ้น เด็กจะเข้าใจการแสดงท่าทาง น้ำเสียงและรูปลักษณ์ของการพูด
3. ขั้นตอนการต่อมาเด็กจะเรียนรู้คำพูด และกลุ่มคำต่าง ๆ
4. ขั้นสูงขึ้นมาอีก เด็กจะเข้าใจประโยคที่ยาวขึ้นและยาก
ฉะนั้นถ้าเราต้องการให้เด็กเข้าใจและสามารถสื่อภาษาได้ถูกต้อง เราต้องให้โอกาสเด็กให้ได้ฟัง ได้เห็นสิ่งของหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ นั้นหลาย ๆ ครั้ง เพื่อช่วยให้เด็กได้พัฒนาภาษารับ ซึ่งเป็นสิ่ง สำคัญที่สุดในการที่จะช่วยเด็กสามารถติดต่อสื่อความหมายทางภาได้ดี
ขั้นตอนการแสดงออกทางภาษาของเด็ก
1. Cooing เป็นเสียงที่เด็กทำในขณะที่นอนอยู่ในเปล จะเป็นเสียงที่อยู่ในลำคอ เช่น อา อู เอ
2. Babbling เสียงอ้อแอ้ ขั้นนี้จะเริ่มเชื่อมโยงเสียงพยัญชนะและสระ
3. ImItion ขั้นเลียนเสียง จะเริ่มเลียนเสียงตัวเอง
4. Single Words ขั้นนี้เด็กจะเสียง หรือทางทางประกอบ ซึ่งมีความหมายถึงบางสิ่งบางอย่าง
5. Jargon ในขั้นนี้เด็กจะออกเสียงคำพูดสูง ๆ ต่ำ ๆ
6. Telegraphic languagr เด็กจะพูดเฉพาะคำบางคำในประโยค โดยเว้นคำอื่น ๆ ที่ไม่สำคัญ
7. Sentonces เมื่อเด็กรู้จักใช้ ทางประกอบในขั้นแรกจะเริ่มพูดเป็นประโยคสั้น ๆ
ฟังพัฒนาการทางการ
1. การรับรู้ว่ามีเสียง เด็กจะสังเกตว่ามีเสียงเกิดขึ้น และทำกริยารับรู้ เช่น กระพริบตา
2. การจำและระลึกเสียงได้ เด็กจะเริ่มเข้าใจและแยกแยะเสียงได้
3. การแสดงความเข้าใจต่อเสียง เด็กจะเริ่มทำกริยาตอบสนอง
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็จะมีพัฒนาการไปตามไปตามขั้นเหล่านี้เช่น
เดียวกัน คือจะต้องรู้จักฟังก่อน เพื่อที่จะสามารถเกิดทักษะในการพูด
พัฒนาการทางการพูด
1. ปฏิกิริยาสะท้อน นับตั้งแต่แรกเกิดถึง 3 เดือน เด็กจะร้องไห้เป็นการตอบสนองตอสิ่งเร้าต่าง ๆ
2. ขั้นเล่นเสียง นับต่อจากขั้นที่ 1 จนถึง 8 เดือน ในวัยนี้เสียงของผู้ใหญ่จะเป็นสิ่งเร้าให้เด็กเล่นเสียงได้
3. ขั้นเลียนแบบเสียง ขั้นนี้เด็กมีอายุเฉลี่ย 9 เดือน เด็กสามารถจำเสียงของผู้อื่นได้ละเอียดขึ้น
4. ขั้นเลียนแบบซ้ำ ๆ เมื่อเด็กอายุได้ประมาณ 1 ปี จะเลิกเรียนเสียงของตัวเองที่ไม่มีความหมาย
5. ขั้นพูดได้ อายุประมาณ 10 –18 เดือน เด็กจะพูดคำแรกได้ เมื่ออายุมากขึ้นจะเริ่มพูดประโยค
พัฒนาการทางการอ่าน
พัฒนาการทางการอ่านเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน จะต้องอาศัยความคิดรวบยอดจากการใช้คำต่าง ๆ เด็กต้องมีความพร้อมและความเข้าใจภาษามาก่อน
ความพร้อมในการอ่านแบ่งได้ 4 ประเภท คือ
1. องค์ประกอบทางด้านกายภาพ ได้แก่ การมีวุฒิภาวะและความเจริญงอกงามโดยทั่ว ๆ ไป
2. องค์ประกอบทางด้านสติปัญญา ได้แก่ความสามารถในการรู้ ความสามารถในการคิด
3. องค์ประกอบทางด้านอารมณ์ ได้แก่ การจูงใจ และ บุคลิกภาพ
4. องค์ประกอบทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่พื้นฐานทางภาษา และประสบการณ์ในสังคม
พัฒนาการทางการเขียน
องค์ประกอบที่สำคัญในการเขียนก็คือ ความพร้อม และวุฒิภาวะทางสมอง การควบคุมกล้ามเนื้อนิ้วมือและแขน ตลอดจนการแระสานงานกันระหว่างสายตาและมือ
การสอนเด็กเขียนควรดำเนินการคล้อยตามธรรมชาติ ไม่ควรเร่งรัดให้เด็กเขียน ควรมีกิจกรรมหลายอย่างที่ช่วยในการฝึกเขียนได้เป็นอย่างดี เช่น การฝึกลากเส้นประเภทต่าง ๆ จากนั้นจึงเริ่มฝึกเขียน ลักษณะที่แสดงว่าเด็กพร้อมที่จะเรียนเขียนได้ คือเด็กจะต้องมีความสามารถในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ความสามารถของกล้ามเนื้อในขณะเขียน กล้ามเนื้อแขน มือ และนิ้วมือ จะต้องเคลื่อนไหวกลมกลืนกัน
2. ความสามารถในการจำภาพของตัวอักษร ภาพของตัวอักษรจะต้องอยู่ในจิตใจเด็กอย่างชัดเจนและต้องจดจำลีลาการเขียนแต่ละตัวให้ได้ การประสานของมือและตาต้องไปได้ดี การเขียนตัวอักษรของเด็กก็ทำได้ไม่ยากนัก
แหล่งอ้างอิง : ดาวใจ ลีเหลา
โดย : นาง เพ็ญศรี นิลนางงาม, สถาบันราชภัฏ, วันที่ 24 สิงหาคม 2546
พัฒนาการทางภาษาของเด็ก
การเรียนรู้ภาษาของเด็กมิได้เริ่มจากการเรียนคำ ความหมายของคำ แต่เริ่มจากการมีความคิดทางภาษาอยู่ภายใน แล้วจึงพัฒนาเป็นการคิดคำอาศัยการลองผิดลองถูกจากการเล่นเสียง
ขั้นตอนของพัฒนาการทางการรับรู้ภาษาของเด็ก
1. สิ่งแรกที่เด็กเรียนรู้คือ ความรู้สึกของพ่อแม่และพี่เลี้ยง ซึ่งแสดงออกโดยการพูด
2. เมื่อเด็กพัฒนาขึ้น เด็กจะเข้าใจการแสดงท่าทาง น้ำเสียงและรูปลักษณ์ของการพูด
3. ขั้นตอนการต่อมาเด็กจะเรียนรู้คำพูด และกลุ่มคำต่าง ๆ
4. ขั้นสูงขึ้นมาอีก เด็กจะเข้าใจประโยคที่ยาวขึ้นและยาก
ฉะนั้นถ้าเราต้องการให้เด็กเข้าใจและสามารถสื่อภาษาได้ถูกต้อง เราต้องให้โอกาสเด็กให้ได้ฟัง ได้เห็นสิ่งของหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ นั้นหลาย ๆ ครั้ง เพื่อช่วยให้เด็กได้พัฒนาภาษารับ ซึ่งเป็นสิ่ง สำคัญที่สุดในการที่จะช่วยเด็กสามารถติดต่อสื่อความหมายทางภาได้ดี
ขั้นตอนการแสดงออกทางภาษาของเด็ก
1. Cooing เป็นเสียงที่เด็กทำในขณะที่นอนอยู่ในเปล จะเป็นเสียงที่อยู่ในลำคอ เช่น อา อู เอ
2. Babbling เสียงอ้อแอ้ ขั้นนี้จะเริ่มเชื่อมโยงเสียงพยัญชนะและสระ
3. ImItion ขั้นเลียนเสียง จะเริ่มเลียนเสียงตัวเอง
4. Single Words ขั้นนี้เด็กจะเสียง หรือทางทางประกอบ ซึ่งมีความหมายถึงบางสิ่งบางอย่าง
5. Jargon ในขั้นนี้เด็กจะออกเสียงคำพูดสูง ๆ ต่ำ ๆ
6. Telegraphic languagr เด็กจะพูดเฉพาะคำบางคำในประโยค โดยเว้นคำอื่น ๆ ที่ไม่สำคัญ
7. Sentonces เมื่อเด็กรู้จักใช้ ทางประกอบในขั้นแรกจะเริ่มพูดเป็นประโยคสั้น ๆ
ฟังพัฒนาการทางการ
1. การรับรู้ว่ามีเสียง เด็กจะสังเกตว่ามีเสียงเกิดขึ้น และทำกริยารับรู้ เช่น กระพริบตา
2. การจำและระลึกเสียงได้ เด็กจะเริ่มเข้าใจและแยกแยะเสียงได้
3. การแสดงความเข้าใจต่อเสียง เด็กจะเริ่มทำกริยาตอบสนอง
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็จะมีพัฒนาการไปตามไปตามขั้นเหล่านี้เช่น
เดียวกัน คือจะต้องรู้จักฟังก่อน เพื่อที่จะสามารถเกิดทักษะในการพูด
พัฒนาการทางการพูด
1. ปฏิกิริยาสะท้อน นับตั้งแต่แรกเกิดถึง 3 เดือน เด็กจะร้องไห้เป็นการตอบสนองตอสิ่งเร้าต่าง ๆ
2. ขั้นเล่นเสียง นับต่อจากขั้นที่ 1 จนถึง 8 เดือน ในวัยนี้เสียงของผู้ใหญ่จะเป็นสิ่งเร้าให้เด็กเล่นเสียงได้
3. ขั้นเลียนแบบเสียง ขั้นนี้เด็กมีอายุเฉลี่ย 9 เดือน เด็กสามารถจำเสียงของผู้อื่นได้ละเอียดขึ้น
4. ขั้นเลียนแบบซ้ำ ๆ เมื่อเด็กอายุได้ประมาณ 1 ปี จะเลิกเรียนเสียงของตัวเองที่ไม่มีความหมาย
5. ขั้นพูดได้ อายุประมาณ 10 –18 เดือน เด็กจะพูดคำแรกได้ เมื่ออายุมากขึ้นจะเริ่มพูดประโยค
พัฒนาการทางการอ่าน
พัฒนาการทางการอ่านเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน จะต้องอาศัยความคิดรวบยอดจากการใช้คำต่าง ๆ เด็กต้องมีความพร้อมและความเข้าใจภาษามาก่อน
ความพร้อมในการอ่านแบ่งได้ 4 ประเภท คือ
1. องค์ประกอบทางด้านกายภาพ ได้แก่ การมีวุฒิภาวะและความเจริญงอกงามโดยทั่ว ๆ ไป
2. องค์ประกอบทางด้านสติปัญญา ได้แก่ความสามารถในการรู้ ความสามารถในการคิด
3. องค์ประกอบทางด้านอารมณ์ ได้แก่ การจูงใจ และ บุคลิกภาพ
4. องค์ประกอบทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่พื้นฐานทางภาษา และประสบการณ์ในสังคม
พัฒนาการทางการเขียน
องค์ประกอบที่สำคัญในการเขียนก็คือ ความพร้อม และวุฒิภาวะทางสมอง การควบคุมกล้ามเนื้อนิ้วมือและแขน ตลอดจนการแระสานงานกันระหว่างสายตาและมือ
การสอนเด็กเขียนควรดำเนินการคล้อยตามธรรมชาติ ไม่ควรเร่งรัดให้เด็กเขียน ควรมีกิจกรรมหลายอย่างที่ช่วยในการฝึกเขียนได้เป็นอย่างดี เช่น การฝึกลากเส้นประเภทต่าง ๆ จากนั้นจึงเริ่มฝึกเขียน ลักษณะที่แสดงว่าเด็กพร้อมที่จะเรียนเขียนได้ คือเด็กจะต้องมีความสามารถในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ความสามารถของกล้ามเนื้อในขณะเขียน กล้ามเนื้อแขน มือ และนิ้วมือ จะต้องเคลื่อนไหวกลมกลืนกัน
2. ความสามารถในการจำภาพของตัวอักษร ภาพของตัวอักษรจะต้องอยู่ในจิตใจเด็กอย่างชัดเจนและต้องจดจำลีลาการเขียนแต่ละตัวให้ได้ การประสานของมือและตาต้องไปได้ดี การเขียนตัวอักษรของเด็กก็ทำได้ไม่ยากนัก
แหล่งอ้างอิง : ดาวใจ ลีเหลา
โดย : นาง เพ็ญศรี นิลนางงาม, สถาบันราชภัฏ, วันที่ 24 สิงหาคม 2546
3 ความคิดเห็น:
บทความนี้เป็นบทความที่ดีมากๆ เป็นบทความที่เราควรศึกษา เพราะตรงกับวิชาที่เรียน อีกทั้งความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาการทางภาษาของเด็ก เป็นสิ่งจำเป็นที่พวก เรา หรือบุคคลที่เป็นครูควรจะรู้ เราขอบอกอีกครั้งหนึ่งว่า เราชอบบทความนี้มากๆๆ
สวัสดีน่ารักดีนะอยากรู้จักคงเข้าใจเรื่องนี้มาก*-*
ขอรูปแบบเต็มตัวได้เปล่าและอยากเห็นบรรยาการน้องๆด้วย
แสดงความคิดเห็น